Custom Search
วันอังคารที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2554

อุปสงค์ (Demand) อุปทาน (Supply)

กลไกเป็นหลักสาคัญในการควบคุมระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม ดังนั้นการศึกษาเรื่องอุปสงค์และอุปทาน ซึ่งเป็นสิ่งกาหนดการทางานของราคาสินค้าจึงเป็นสิ่งควรศึกษาก่อน
อุปสงค์ (Demand)
อุปสงค์ (Demand) หมายถึง ความปรารถนาและเต็มใจที่จะซื้อสินค้าโดยมีความสามารถจะซื้อได้ด้วย
ตัวกำหนดอุปสงค์(Demand determinants) หมายถึงตัวแปรหรือ ปัจจัยต่างๆซึ่งมีอิทธิพลต่อจานวนสินค้าที่ผู้บริโภคปรารถนาที่จะซื้อ ปัจจัยเหล่านี้จะมีอิทธิพลต่อปริมาณซื้อมากน้อยไม่เท่ากัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับพฤติกรรฒของผู้บริโภคแต่ละคนและกาลเวลา ปัจจัยเหล่านี้มีหลายอย่าง ซึ่งจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงในทางที่เพิ่มขึ้น หรือลดลงของปริมาณเสนอซื้อสินค้าและบริการของผู้บริโภค การศึกษาปัจจัยที่กาหนดอุปสงค์ในระบบเศรษฐกิจที่สามารถอธิบายได้ในทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ ซึ่งเรียกว่า ตัวแปรภายใน (Endogeneous Variable) ประกอบด้วย 1. ปริมาณซื้อขึ้นอยู่กับราคาของสินค้านั้น ตามปกติเมื่อราคาสินค้าเพิ่มสูงขึ้น ปริมาณซื้อจะมีน้อย แต่ถ้าราคาสินค้าลดต่าลง ปริมาณซื้อจะมีมาก โดยทั่วไปปริมาณเสนอซื้อจะมากหรือน้อย ผู้บริโภคจะพิจารณาราคาสินค้าโดยตรง กล่าวคือ ถ้าราคาสินค้าเพิ่มสูงขึ้น จะส่งผลให้ปริมาณ เช่น ถ้ารถยน์มีราคาสูงขึ้น ลูกค้าจะลดปริมาณการซื้อรถน้อยลง
2. รายได้ของผู้บริโภค (รายได้สุทธิส่วนบุคคล) ถ้าพิจารณาทางด้านรายได้แล้ว สามารถแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเสนอซื้อสินค้ากับรายได้ของผู้บริโภค การทดแทนกันของสินค้า สินค้าที่ทดแทนกันได้ค่าความยืดหยุ่นของสินค้าจะมาก ถ้าสินค้าไม่สามารถทดแทนโดยสินค้าอื่นได้ ค่าความยืดหยุ่นของสินค้าต่อราคาจะน้อย มีรายได้สูงขึ้น ก็จะหันมาบริโภคสินค้าที่มีคุณภาพหรือสินค้าปกติมากขึ้น และลดการบริโภคสินค้าด้อยคุณภาพลง
3. ราคาสินค้าเปรียบเทียบกับรายได้ของผู้บริโภค สินค้าที่ราคาต่าเมื่อเทียบกับรายได้ผู้บริโภคจะมีค่าความยืดหยุ่นอุปสงค์ของสินค้าจะน้อย ถ้าสินค้ามีราคาสูงเมื่อเทียบกับรายได้ ค่าความยืดหยุ่นอุปสงค์ของสินค้าจะมาก รสนิยมของผู้บริโภค ปริมาณซื้อของผู้บริโภคส่วนใหญ่ในระบบเศรษฐกิจ อาจจะขึ้นอยู่กับความนิยม หรือความชอบในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น เสื้อผ้าตามแฟชั่น เทปเพลง แต่สินค้าบางประเภทผู้บริโภคก็ยังมีความนิยมที่ยาวนาน เช่น รถยนต์ น้าอัดลม เป็นต้น
4. ความทนทานของสินค้า สินค้าที่ทนทาน และซ่อมแซมได้ ค่าความยืดหยุ่นอุปสงค์ของสินค้าจะน้อย และถ้าสินค้าบุบสลาย พังง่าย ค่าความยืดหยุ่นอุปสงค์ของสินค้า จานวนประชากร เมื่อประชากรมีจานวนเพิ่มขึ้นในระบบเศรษฐกิจ ส่งผลให้ความต้องการสินค้าและบริการสูงขึ้น แต่ทั้งนี้จานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นจะต้องมีอานาจซื้อเพิ่มขึ้น จึงจะทาให้ซื้อสินค้าและบริการนั้นเพิ่มขึ้น
5. ฤดูกาล ความต้องการซื้อสินค้าและบริการบางชนิดขึ้นอยู่กับฤดูกาล หรือขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ เช่น ในฤดูฝน ผู้บริโภคต้องการซื้อเสื้อกันฝนมากขึ้น ทาให้ในฤดูฝน ปริมาณเสนอซื้อเสื้อกันฝนเพิ่มขึ้น หรือในฤดูร้อน ผู้บริโภคต้องการซื้อเครื่องปรับอากาศเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ปริมาณซื้อเครื่องปรับอากาศสูงขึ้น ระยะเวลา ความยืดหยุ่นอุปสงค์ของสินค้าขึ้นกับเวลา ถ้าผู้บริโภคมีเวลาตัดสินใจนาน โอกาสการเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อสินค้าจะมากขึ้น ความยืดหยุ่นอุปสงค์สินค้าจะมากขึ้น
6.ราคาสินค้าชนิดอื่นที่เกี่ยวข้องกับสินค้าที่ต้องการซื้อ พฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้บริโภคจะซื้อสินค้าและบริการหลายชนิดในครั้งเดียวกัน ซึ่งในทางเศรษฐศาสตร์จะแบ่งชนิดของสินค้าที่มีความสัมพันธ์กัน
7. การกระจายรายได้ เมื่อรายได้ส่วนใหญ่ ไปตกอยู่กับผู้บริโภคโดยส่วนใหญ่ จะทาให้ปริมาณซื้อสินค้าจะมากขึ้น แต่ถ้ารายได้ส่วนใหญ่ตกอยู่กับผู้บริโภคโดยส่วนน้อย จะทาให้ปริมาณเสนอซื้อสินค้าลดลง

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น