Custom Search
1) ควรจัดให้มีการวางแผนทางการเงิน ในระยะยาวขึ้น อาจเป็น 5 ปี หรือเท่ากับแผน
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมก็ได้ เพื่อเป็นแนวทางหลักในการวางแผนทางการเงิน ในระยะสั้นให้มีแนว
ทางไปในทางเดียวกัน
2) งบประมาณที่หน่วยงานเสนอมาต้องผ่านการกลั่นกรองจากหน่วยงานขั้นต้นมาก่อน
เป็นอย่างดี
3) ควรจัดให้มีการเชื่อมโยงระหว่างแผนงานต่าง ๆ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความขัดแย้งกัน
4) ควรมีการทบทวน และจัดทำ โครงสร้างแผนงานให้สมบูรณ์อยู่เสมอ เพื่อขจัดความ
ซํ้าซ้อนของงานต่าง ๆ ที่มีอยู่ในโครงสร้างแผนงาน และมีการจัดเรียงลำ ดับความสำ คัญขึ้นใหม่ตาม
สถานกรณ์ปัจจุบันและในอนาคตที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
5) ควรมีการพิจารณาลดหรือยุบเลิกงานที่ไม่มีความจำ เป็นหรือไม่เหมาะสมกับ
สถานการณ์ เพื่อจะได้ใช้งบประมาณไปในทางที่เป็นประโยชน์ด้านอื่น
6) ควรมีการตั้งศูนย์ข้อมูลที่สมบูรณ์ขึ้นเพื่อให้มีการรวบรวมข้อมูลทุกด้าน ที่จะนำ มา
ใช้ในการจัดเตรียมทำ งบประมาณ
7) ควรมีการปรับปรุง ทบทวน แก้ไข ระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ที่ล้าสมัยให้ทันสมัย
มีประสิทธิภาพ และเอื้อต่อการทำ งบประมาณ
8) ควรมีการลดขั้นตอนการปฏิบัติบางอย่างที่ไม่จำ เป็นลงเหลือไว้เฉพาะขั้นตอนที่จำ เป็น
เพื่อประหยัดเวลาการทำ งาน
9) ควรปรับปรุงรูปแบบองค์กรงบประมาณให้สอดคล้องกับระบบประมาณที่ใช้อยู่เพื่อ
ประหยัดเวลาการทำ งาน
10) ควรจัดเจ้าหน้าที่งบประมาณ ลงปฏิบัติงานให้ตรงกับความรู้ความสามารถและมีการ
พัฒนาให้มีวิจารณญาณที่ดีมีความรอบรู้ในด้านต่าง ๆ ที่จะนำ มาใช้ประกอบการจัดทำ งบประมาณ
การวิเคราะห์งบประมาณ ทั้งทางตรงและทางอ้อม
11) คณะกรรมการผู้พิจารณางบประมาณควรเป็นผู้ที่มีวิจารณญาณที่ดี มีทัศนเปิดกว้าง
ยินดีรับฟังข้อมูลและความคิดเห็นต่าง ๆ เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีมีวิสัยทัศน์
พิจารณางบประมาณในลักษณะเปิดกว้าง เป็นกลางโดยคำ นึงถึงความจำ เป็นด้านต่าง ๆ ให้สอดคล้อง
กัน อยา่ มุง่ แตป่ ระเด็นเพียงเพื่อจะตัดงบประมาณเพียงอย่างเดียว หรือมองในรายละเอียดมากจนเกินไป
1) เจ้าหน้าที่งบประมาณ ต้องมีวิจารณญาณทีดีมีความรู้รอบตัวด้านต่าง ๆ เพื่อใช้
ประกอบการพิจารณาให้มีประสิทธิภาพดีที่สุดต้องเปิดกว้างรับฟังความคิดเห็นทุกฝ่ายเพื่อนำ มาเป็น
ข้อมูลในการจัดการงบประมาณ
2) เจ้าหน้าที่งบประมาณขาดประสบการณ์และคุณสมบัติไม่ตรงกับงานที่ทำ ควรมีการ
ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่งบประมาณเพื่อให้มีศักยภาพสูงขึ้น สามารถทำ งบประมาณได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3) เจ้าหน้าที่งบประมาณมีน้อยไม่พียงพอ
1) รูปแบบขององค์กรไม่สอดคล้องกับระบบงบประมาณที่ใช้อยู่องค์กรงบประมาณ
โดยทั่วไปอยูใ่ นรูปแบบเก่าไม่ได้จัดในลักษณะแผนงาน ทำ ให้งานบางด้านขาดหายไป
2) ศักยภาพขององค์กรขาดความพร้อมในหลายด้าน เช่น ความพร้อมของเจ้าหน้าที่
ปฏิบัติงานทั้งด้านปริมาณและคุณภาพขาดความพร้อมเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทันสมัยอย่างพอเพียง
องค์กรขาดความสามารถในการปรับตัวให้สอดคล้องกับเหตุการณ์ที่มีผลต่อการจัดการงบประมาณ
3) ขาดการจัดองค์กรตามทฤษฎีองค์กรและการบริหารที่ดี ซึ่งการบริหารที่ดีนั้นจะต้อง
คำ นึงถึงหลักการบริหารและหลักขององค์กร ได้แก่ การวางแผน การจัดองค์กร การจัดบุคลากร
การกำ กับดูแล การประสานงาน การรายงาน และการจัดงบประมาณให้มีประสิทธิภาพ
4) การจัดองค์กรงบประมาณยังให้ความสำ คัญไม่เท่าเทียมกันในแต่ละด้าน
1) หน่วยงานขาดการวางแผนระยะยาวในช่วงระยะเวลา 5 ปี ต่อครั้งถึงแม้จะมีแผน
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติแล้ว แต่ก็เป็นการทำ แผนพัฒนาในภาพกว้าง หน่วยงานจึงควรมีวาง
แผนระยะยาวของตนเอง
2) หน่วยงานต่าง ๆ ทำ คำ ของบประมาณของตนเองโดยไม่มีการพิจารณากลั่นกรอง
ขั้นตอนว่าสอดคล้องกับนโยบายและแผนงานที่ได้กำ หนดไว้หรือไม่ ทำ ให้การบริหารงบประมาณ
ขาดประสิทธิภาพ
3) ขาดความเชื่อมโยงระหว่างโครงสร้างแผนงาน นโยบาย และแผนปฏิบัติการทำ ให้
การจัดระบบงานในทุกระดับมีความขัดแย้งกัน
4) โครงสร้างแผนงานที่ใช้ขาดความสมบูรณ์ในตัวเอง ขาดการลำ ดับความสำ คัญของ
งาน มีความซํ้าซ้อนของงานและก่อให้เกิดความสับสนและสิ้นเปลืองงบประมาณเป็นอย่างมาก
5) ปัญหาความซํ้าซ้อนของงานและโครงการซึ่งมีสาเหตุมาจากการขยายขอบเขตการ
ดำ เนินงานของหน่วยงานเกินกว่าที่กำ หนดในอำ นาจหน้าที่ ขาดการพิจารณาขอบเขตของงานว่าควรจะ
ลดหรือยุบเลิกงานไปเมื่อไม่มีความจำ เป็นในงานนั้นต่อไปแล้ว
6) ขาดข้อมูลพื้นฐานในการทำ งบประมาณ การทำ งบประมาณให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ต้องอาศัยข้อมูลที่สมบูรณ์ทุกด้าน เช่น ระเบียบการเงินต่าง ๆ เกณฑ์มาตรฐานครุภัณฑ์ระเบียบการ
จ่ายเงินค่าตอบแทนการไปราชการ ข้อมูลจำ นวนนักศึกษา แผนการเรียน ฯลฯ
7) หน่วยงานตั้งงบประมาณรายจ่ายโดยขาดแนวทาง ทิศทางที่ถูกต้องและขาดการจัด
ลำ ดับความสำ คัญของงบประมาณรายจ่ายมีผลทำ ให้งบประมาณสูงเกินความจำ เป็น
8) คณะกรรมการพิจารณารายละเอียดงบประมาณ ขาดประสบการณ์ความรู้ด้านการ
เงินงบประมาณ และความรู้รอบตัวเกี่ยวกับการทำ งานของหน่วยงาน เพื่อจะได้รู้ทันการจัดการงบ
ประมาณของหน่วยต่าง ๆ และสามารถพิจารณาได้อย่างรอบคอบขึ้นอยู่กับฐานของความเป็นจริง
9) ปัญหาด้านการจัดซื้อจัดจ้าง และการวางฎีกาเบิกจ่ายเงินที่มีระเบียบข้อบังคับที่ต้อง
ปฏิบัติตามมากมาย หน่วยงานต้องเสียเวลาในการปฏิบัติตามระเบียบขั้นตอนจนบางครั้งไม่สามารถ
ดำ เนินการซื้อได้ทันเวลา
10) ปัญหาอื่น ๆ เช่น พัสดุ ครุภัณฑ์ที่จัดซื้อตามระเบียบหลายครั้ง จะมีคุณภาพตํ่าและ
ไม่สามารถใช้งานได้ ซึ่งถ้าไม่ทำ ตามระเบียบอาจจะถูกตั้งกรรมการสอบสวนความผิดได้
1) จัดทำ คำ ขอตั้งงบประมาณรายจ่ายให้ใกล้เคียงกับรายจ่ายที่น่าจะเป็นจริงมากที่สุด
การจัดทำ งบประมาณรายจ่ายที่สูงเกินกว่าความป็นจริงจำ นวนมากเป็นสิ่งที่ไม่สมควร เนื่องจาก
งบประมาณรายรับมีอยู่อย่างจำ กัด ทำ ให้หน่วยงานอื่นที่มีความพร้อมและความสามารถหมดโอกาส
ที่จะนำ เงินจำ นวนนั้นไปใช้จ่ายให้เกิดประโยชน์ การทำ งบประมาณรายจ่ายที่เกินความจริงหรือไม่
เพียงพอเป็นเหตุทำ ให้ต้องมีการขอโอนเงิน หรือแปรเงินเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่าย ทำ ให้
เพิ่มภาระยุ่งยากเสียเวลา และแสดงถึงการทำ งานที่ไม่มีประสิทธิภาพ
2) การกำ หนดเกณฑ์แนวทางการจัดสรรงบประมาณ ต้องมีการพิจารณาให้ละเอียด
รอบคอบ ควรคำ นึงถึงสภาพพื้นฐานของหน่วยงานและความเหมาะสม สอดคล้องกับนโยบาย
งบประมาณ ดังนั้นหน่วยงานหรือองค์กรที่มีหน้าที่กำ หนดเกณฑ์ในการจัดสรรงบประมาณต้องมีความ
รอบคอบและหาข้อยุติให้ได้ว่าจะใช้เกณฑ์ในการจัดสรรงบประมาณอย่างไร จึงจะทำ ให้เกิดประโยชน์
สูงสุด
3) สภาพของโครงสร้างแผนงาน ที่ใช้ต้องสนองต่อนโยบายและภารกิจของ
หน่วยงานและต้องตอบสนองต่อแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เมื่อแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติเปลี่ยนไป โครงสร้างของแผนงานต้องมีการปรับตามให้สอดคล้องกันด้วย หน่วยงานที่
ทำ งบประมาณรายจ่ายต้องเข้าใจสภาพโครงสร้างของแผนงาน ปัญหาที่เกิดขึ้นที่พบอยู่เสมอ คือ
(1) หน่วยงานขาดความเข้าใจความหมายขององค์ประกอบในโครงสร้าง
แผนงาน เช่น คำ ว่า วัตถุประสงค์ เป้าหมาย แผนงาน งาน โครงการ กิจกรรม ฯลฯ ซึ่งมีผลทำ ให้การจัด
โครงสร้างแผนงานในแต่ละระดับสับสน
(2) ไม่ได้มีการทบทวน วิเคราะห์ วัตถุประสงค์ เป้าหมายของกิจกรรมต่าง ๆ
อย่างจริงจัง และไม่ได้มีการทบทวนว่ากิจกรรมใดที่สมควรชะลอ หรือยุบเลิก เพื่อให้มีทรัพยากรที่จะ
นำ ไปใช้สำ หรับงาน/โครงการใหม่ ๆ ที่คุ้มค่ากว่า
(3) ไม่มีการกำ หนดตัวชี้วัดความสำ เร็จของแผนงาน / งาน / โครงการ
(4) ไม่มีการกำ หนดขอบเขตวัตถุประสงค์ในแต่ละระดับของโครงสร้าง
แผนงานอย่างชัดเจน เช่น วัตถุประสงค์ในระดับงานควรมีขอบเขตกว้างขวางเพียงใด หรือวัตถุประสงค์
ในระดับแผนงาน มีขอบเขตอย่างไร และแตกต่างกันอย่างไร
(5) ไม่มีการจัดลำ ดับความสำ คัญของ งาน/โครงการ ภายใต้แผนงานทำ ให้
ไม่สามารถใช้โครงสร้างแผนงานเป็นเครื่องมือในการจัดสรรงบประมาณที่มีอยู่อย่างจำ กัดอย่างมี
ประสิทธิภาพได้เท่าที่ควร
(6) หน่วยงานยังไม่ได้นำ โครงสร้างแผนงานไปใช้เป็นเครื่องมือในการ
ตัดสินใจในกระบวนการงบประมาณอย่างแท้จริง
(7) บางหน่วยงานกำ หนดแผนงานไม่ตรงกับแผนงานที่ปรากฏในโครงสร้าง
แผนงานที่สำ นักงบประมาณกำ หนด